องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน - HKM

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์พื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง และโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาพื้นที่เฉพาะ

โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2561 มีพื้นที่ดำเนินงานทั้งหมดจำนวน 33 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด แบ่งพื้นที่ดำเนินงานเป็น 4 กลุ่มดังนี้ พื้นที่กลุ่มที่ 1 ได้แก่ เชียงใหม่, กำแพงเพชร, กาญจนบุรี พื้นที่กลุ่มที่ 2 ได้แก่ เชียงราย พื้นที่กลุ่มที่ 3 ได้แก่ น่าน และพื้นที่กลุ่มที่ 4 ได้แก่ ตาก, แม่ฮ่องสอน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่สูง 500 เมตร เหนือระดับปานกลางของน้ำทะเล

การปรับปรุงดินบนพื้นที่สูง

ดินเป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อการเกษตร เนื่องจากดินเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตของพืช มีคุณสมบัติทางกายภาพที่เหมาะสมสำหรับเป็นที่ยึดเกาะของรากพืช ช่วยยึดลำต้นให้แน่น ไม่ให้ล้มเอียง และยังทำหน้าที่เก็บกักน้ำเพื่อการเจริญเติบโตของพืช

ภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์พืชท้องถิ่น มะเขาควาย

มะเขาควาย หรือชื่อท้องถิ่น มะเขาวัว พืชที่ถือเป็นโอกาสการสร้างเศรษฐกิจชุมชน จากฐานชีวภาพของชุมชนบนพื้นที่สูง เป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เป็นพืชไม้เถาเลื้อยยาว มักเลื้อยพาดตามต้นไม้ใหญ่

การจัดการธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไร่ในพื้นที่ขยายผลโครงการหลวงแม่สอง

ชุมชนบ้านวะโดโกร ต.แม่สอง อ.ท่าสองยาง จ.ตาก ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ส่งเสริมของโครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สอง ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ประกอบอาชีพหลักคือ การปลูกข้าวไร่ โดยทุกครัวเรือนจะปลูกข้าวไร่เพื่อใช้บริโภคตลอดปี

วิธีการใช้ GA3 ให้องุ่นลูกโต

ฮอร์โมนพืชกลุ่มจิบเบอเรลลิน ฮอร์โมนเพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดองุ่นที่ช่อและผลใหญ่โดยเฉพาะองุ่นไม่มีเมล็ด ทำให้ได้องุ่นมีปริมาณและคุณภาพสูง

องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) คืออะไร ?

“เป็นองค์กรที่มีการสร้างช่องทางให้ เกิดการถ่ายทอดความรู้ ซึ่งกันและกัน ควบคู่ไปกับการ รับความรู้จากภายนอก” เกิดแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด สู่การพัฒนาและสร้างฐานความรู้ที่เข้มแข็ง

การผลิตและการใช้เชื้อรากำจัดแมลงศัตรูพืชสำหรับเกษตรกร

การใช้เชื้อราในการกำจัดแมลงศัตรูพืช ถือเป็นวิธีการหนึ่งที่ได้รับความนิยม และมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เชื้อราสาเหตุโรคแมลง

ผลิตภัณฑ์สารชีวภาพสำหรับควบคุมแมลงศัตรูพืช พีพี-เมทา และพีพี-ฟีโร

ผลิตภัณฑ์สารชีวภาพมีความสำคัญกับระบบเกษตรกรรมในยุคปัจจุบัน เพื่อนำมาใช้ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เป็นการทำการเกษตรกรรมทางเลือกอย่างหนึ่งที่มีประโยชน์ทางการเกษตรมาใช้ ทำให้สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยกับผู้บริโภค และช่วยฟื้นฟู บำรุง รักษา ระบบสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ในสภาพที่สมดุล

ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์พื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง

โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2561 มีพื้นที่ดำเนินงานทั้งหมดจำนวน 33 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด แบ่งพื้นที่ดำเนินงานเป็น 4 กลุ่มดังนี้ พื้นที่กลุ่มที่ 1 ได้แก่ เชียงใหม่, กำแพงเพชร, กาญจนบุรี พื้นที่กลุ่มที่ 2 ได้แก่ เชียงราย พื้นที่กลุ่มที่ 3 ได้แก่ น่าน และพื้นที่กลุ่มที่ 4 ได้แก่ ตาก, แม่ฮ่องสอน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่สูง 500 เมตร เหนือระดับปานกลางของน้ำทะเล

ทั้งหมด 51 รายการ

123456